
ราคาทองวันนี้ (21 มิ.ย.) ปิดตลาดร่วง 100 บาท ราคาทองคำแท่ง ขายออก 30,650 บาท ราคาทองรูปพรรณ ขายออก 31,150 บาท ราคาทองคำ ประจำวันที่ 21 มิ.ย.65 เปลี่ยนแปลงล่าสุด ครั้งที่ 4 ณ เวลา 16:11 น.
ตามประกาศ ของสมาคมค้าทองคำ ทั้งนี้ ราคาทองคำวันนี้ ปรับลดลง 100 บาท เมื่อ เทียบ กับราคาซื้อขายวานนี้ ( วันที่ 20 มิ.ย. 65 )
ราคาทองคำแท่ง รับซื้อบาทละ 30,550.00 ขายออก บาทละ 30,650.00
ราคาทองรูปพรรณ รับซื้อบาทละ 30,001.64 ขายออก บาทละ 31,150.00
ประกาศ ครั้งที่ 1
ราคาทองคำแท่ง รับซื้อบาทละ 30,700.00 บาท ขายออก บาทละ 30,800.00 บาท
ราคาทองรูปพรรณ รับซื้อบาทละ 30,153.24 บาท ขายออก บาทละ 31,300.00 บาท
ประกาศ ครั้งที่ 2
ราคาทองคำแท่ง รับซื้อบาทละ 30,650.00 บาท ขายออก บาทละ 30,750.00 บาท
ราคาทองรูปพรรณ รับซื้อบาทละ 30,092.60 บาท ขายออก บาทละ 31,250.00 บาท
ประกาศ ครั้งที่ 3
ราคาทองคำแท่ง รับซื้อบาทละ 30,600.00 บาท ขายออก บาทละ 30,700.00 บาท
ราคาทองรูปพรรณ รับซื้อบาทละ 30,047.12 บาท ขายออก บาทละ 31,200.00 บาท
ประกาศ ครั้งที่ 4
ราคาทองคำแท่ง รับซื้อบาทละ 30,550.00 บาท ขายออก บาทละ 30,650.00 บาท
ราคาทองรูปพรรณ รับซื้อบาทละ 30,001.64 บาท ขายออก บาทละ 31,150.00 บาท
ปัจจัย ที่ ส่งผลทำให้ ราคาทองวันนี้ ขึ้นลง ค่อนข้างเด่นชัด 21 มิถุนายน 2565
1. นโยบายการเงินและอัตราดอกเบี้ย
เรื่องเกี่ยวกับ นโยบายการเงิน และ อัตราดอกเบี้ย ธนาคาร มีความสัมพันธ์ แบบผกผัน กับราคาทองคำ ของแต่ละประเทศ กรณีมีการ ปรับดอกเบี้ยนโยบายขึ้น จะสะท้อนว่าเศรษฐกิจ เริ่มดี ความเชื่อ
มั่นมีมากขึ้น ค่าเงินของประเทศ จะมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ ราคาทองคำลดลง ในทางตรงกันข้าม หากดอกเบี้ยนโยบาย ลดลง จะสะท้อนว่า เศรษฐกิจเริ่มแย่ ความเชื่อมั่นเริ่มลดลง ค่าเงินจะปรับตัวลดลงตาม
ส่งผล ให้ราคาทองคำปรับ ตัวเพิ่มขึ้น
2. ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ
สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ เป็นสกุลเงิน ที่ถูกใช้เป็นสื่อกลาง ในการ ซื้อขายแลกเปลี่ยนสกุลเงิน ซึ่ง ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ จะ มีความผกผันกับราคาทอง เมื่อ ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลง จะส่งผลดี
กับราคาทองคำ ซึ่งเป็นสินทรัพย์ ที่สามารถรักษามูลค่าได้ กระแสเงินของ แต่ละประเทศจะไหลไป สู่ทองคำแทนเงิน ดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้ ทองคำ มี ราคาเพิ่มสูงขึ้น ใน ทางตรงกันข้าม หากเงินดอลลาร์สหรัฐ
แข็งค่า ก็ จะส่งผลต่อราคาทองคำ นักลงทุนจะหัน มาซื้อสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ไว้ แทน ราคาทองคำก็จะลดลง
3. อุปสงค์และอุปทาน ( Demand & Supply )
อุปสงค์ (Demand) คือ ความต้องการใช้ทองคำ ซึ่งส่วนใหญ่ มาจากภาคอุตสาหกรรม ทำเครื่องประดับ ภาคการลงทุน และภาครัฐ ที่มีการนำทุนสำรอง ไปซื้อทองคำมากขึ้น ลดความเสี่ยงจากการ
กระจุกตัว อยู่ในพันธบัตรรัฐบาล ของสหรัฐ ถ้าหากมีความต้องการ ซื้อทองคำสูง จะส่งผล ให้ราคาทองสูงขึ้น ในทางตรงกันข้าม ถ้า มีความต้องการ ซื้อทองคำต่ำลง ราคาทอง ก็ จะลดต่ำลงเช่นกัน ส่วนอุปทาน
( Supply ) นั้น คือ ความต้องกา รขายทองคำ
ของผู้ผลิตทองคำ ของเหมืองทอง การขาย ของธนาคารกลาง ของประเทศต่าง ๆ และ ปริมาณทองคำเก่า ที่ หมุนเวียนอยู่ในระบบ ถ้าหากมีความ ต้องการ ขายทองคำสูง ราคาทองจะลดต่ำลง แต่ถ้าหากมีความต้อง
การขาย ต่ำราคาทอง ก็ จะสูงขึ้น ตามหลักทาง เศรษฐศาสตร์
4. ราคาทองคำในต่างประเทศ (Gold Spot)
Gold Sport คือราคาอ้างอิงราคาทองคำทางอิเล็กทรอนิกส์ของตลาดทองคำในต่างประเทศ เป็นราคาที่ไม่มีการส่งมอบทองคำกันจริง โดยจะมีการอ้างอิงราคาทั้งฝั่ง Bid (ราคารับซื้อ)
และ Ask (ราคาขายออก) ในการซื้อทองคำจากต่างประเทศนั้น ผู้ขายจะใช้ราคา Ask ในการอ้างอิง เมื่อขายกลับไปยังผู้ค้าทองคำต่างประเทศ จะใช้ราคา Bid ในการอ้างอิง ซึ่งการขึ้นลง ของราคาทอง
ในต่างประเทศจะสะท้อนการ ขึ้นลงของราคาทองคำในประเทศเช่นเดียวกัน
5. อัตราค่า Premium (ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการนำเข้า/ส่งออกทองคำ)
ค่า Premium ก็คือค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่อที่นำเข้าหรือ ส่งออกทองคำ รวมถึงค่าขนส่ง ค่าความเสี่ยง ดอกเบี้ยธนาคาร ค่าประกันภัยต่างๆ ซึ่งถูกกำหนดมาโดยผู้ค้าทองในต่างประเทศ ซึ่งเรียกง่ายๆ
ว่าเป็นต้นทุนในการนำเข้า ทองคำจากต่างประเทศ เข้ามาขายผู้บริโภค ในการคำนวณจาก ราคาทองคำ กรณีการซื้อขายที่ต้อง ส่งมอบทองคำกันจริง ๆ จะนำราคา Gold Spot บวกค่า Premium ด้วย
สำหรับสภาวะปกติ ค่า Premium จะอยู่ที่ +1 ถึง 2 เหรียญต่อออนซ์ แต่ในสภาวะผิดปกติ ราคาทองคำในต่างประเทศ ปรับตัวขึ้นหรือลง อย่างมากและรวดเร็ว ในระยะเวลาอันสั้น ส่งผลให้มีการปรับขึ้นลงค่า
Premium จากผู้ค้า ใน ต่างประเทศ อย่างรวดเร็ว และ รุนแรงมากเช่นกัน ก็ จะกลับมา สะท้อน ราคาทองในประเทศ
และท่านสามารถ ติดตามข้อมูล ข่าวสาร ต่าง ๆ ทั่วมุมโลก ข่าวสด รวดเร็วกว่า อีกทั้ง ข่าวฟุตบอล ตารางการแข่งขัน
ผลบอล และการ วิเคราะห์บอล // ทีเด็ดบอล ไฮไลบอล แทงบอล แทงบอลออนไลน์ และยังมี บาคาร่า รูเล็ต UFABET